ฆราวาส ธรรม ๔ / ฆราวาสธรรม ๔ ธรรมะของผู้ครองเรือน - Youtube

อาคาร-พ-บ-ทาวเวอร
Wed, 24 Aug 2022 18:42:19 +0000

ฆราวาสธรรม 4 ธรรมของผู้ครองเรือน ประกอบด้วย สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ ผู้นำฆราวาสธรรม 4 ไปใช้ จะมีความสุขความสำเร็จในชีวิต บทความธรรมะ Dhamma Articles > Review รายการ [ 15 ก. ย. 2553] - [ ผู้อ่าน: 17486] ธรรมของผู้ครองเรือน ฆราวาสธรรม 4 ธรรมของผู้ครองเรือน ฆราวาสธรรม 4 ประกอบด้วย 1. สัจจะ คือ ความซื่อสัตย์ 2. ทมะ คือ การฝึกตน 3. ขันติ คือ ความอดทน 4. จาคะ คือ ความเสียสละ ซึ่ง 4 ข้อนี้ไม่ใช้ธรรมของฆราวาสเพียงอย่างเดียว บรรพชิตผู้ออกบวชก็ควรถือปฏิบัติเช่นเดียวกัน เพราะใครที่มี สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ ชีวิตก็จะเจริญก้าวหน้าไปได้อย่างรวดเร็ว ฆราวาสธรรม 4 รายละเอียดของฆราวาสธรรมแต่ละข้อมีดังนี้คือ 1.

  1. ฆราวาสธรรม 4 ธรรมของผู้ครองเรือน
  2. ฆราวาสธรรม ๔ (ป.๓) - YouTube
  3. G14 ฆราวาสธรรม ๔ - YouTube
  4. ฆราวาสธรรม ๔ คือ
  5. ธรรม 7 ประการ ทำให้เป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจ

ฆราวาสธรรม 4 ธรรมของผู้ครองเรือน

บ้านธัมมะ กระดานสนทนา กระทู้สนทนาธรรม 2553 ธรรม 7 ประการ ทำให้เป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจ pirmsombat วันที่ 21 ต. ค. 2553 หมายเลข 17406 อ่าน 3, 610 ถ้าเปรียบกับธรรมของฆราวาส พบว่ามี ฆราวาสธรรม ๔ คลิกอ่านได้จากลิ้งค์ด้านล่างนี้ ฆราวาสธรรม ๗ ขออนุโมทนาค่ะ ความคิดเห็นที่ 1 จักรกฤษณ์ ขอบพระคุณและขออนุโมทนาครับ ความคิดเห็นที่ 2 Noparat ขออนุโมทนาค่ะ ความคิดเห็นที่ 3 สมศรี ขอบคุณและอนุโมทนาค่ะ ความคิดเห็นที่ 4 ขอบคุณและอนุโมทนาทุกท่านครับ ความคิดเห็นที่ 5 ผิน ขอขอบคุณและอนุโมทนาค่ะ ความคิดเห็นที่ 6 เมตตา วันที่ 22 ต. 2553 ความคิดเห็นที่ 7 Thirachat. P ผมเข้าใจว่าเป็นฆราวาสธรรมใช่ไหมครับ จะกว้างเกินไปหรือเปล่าครับ โปรดกรุณาชี้แจงด้วยครับ ขอบคุณและขออนุโมทนาครับ ความคิดเห็นที่ 8 prachern. s เรียนความเห็นที่ ๗ เข้าใจว่าพระสูตรนี้แสดงกับพระภิกษุโดยตรง คงไม่ต้องโยงกับธรรมข้ออื่นครับ ความคิดเห็นที่ 9 pornpaon ถ้าเปรียบกับธรรมของฆราวาส พบว่ามี ฆราวาสธรรม ๔ คลิกอ่านได้จากลิ้งค์ด้านล่างนี้ ฆราวาสธรรม ๗ ความคิดเห็นที่ 10 pamali ขอบพระคุณและขออนุโมทนาค่ะ ความคิดเห็นที่ 11 ขอบคุณและขออนุโมทนาครับ ความคิดเห็นที่ 13 orawan.

  1. ธรรม 7 ประการ ทำให้เป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจ
  2. ชี้เป้า!!ทุนการศึกษาของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ปี 62 - บริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน)
  3. ธรรมะกับชีวิตประจำวัน : จริงใจ ฝึกฝน ทนได้ ให้ปัน หลักในการครองชีวิตคู่ให้อยู่ยืนยาว
  4. ฆราวาสธรรม ๔ | มูลนิธิอุทยานธรรม

ฆราวาสธรรม ๔ (ป.๓) - YouTube

c ความคิดเห็นที่ 14 chatchai. k วันที่ 20 ส. 2563 ขออนุโมทนาครับ เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ หัวข้อแนะนำ

ฆราวาสธรรม ๔ คือ

G14 ฆราวาสธรรม ๔ - YouTube

การข่มใจตนเอง คือ การยับยั้ง และรู้จักควบคุมจิตใจของตนไม่ให้ติดอยู่ในวังวนแห่งอบายมุขแห่งโกธะ คือ ความโกรธ โมโหร้าย โลภะ คือ ความทะยานอยากที่จะนำไปสู่การสนองความต้องการของตนในทางสิ่งที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย และศีลธรรม และโมหะ คือ ความหลงกับความสุขที่เกิดขึ้นจากสิ่งที่ไม่ยั่งยืนนั้น อานิสงส์ของการมีทมะ 1. เป็นผู้รักการฝึกฝนตนอย่างสม่ำเสมอ 2. เป็นผู้มีสมาธิ มีความรอบคอบ 3. ไม่บาดหมาง และไม่มีศัตรู 4. เป็นผู้มีความสามารถในการงาน 5. เป็นผู้มีปัญญาเป็นเลิศ โทษของการขาดทมะ 1. เป็นผู้ไม่รู้จักการฝึกฝนตน 2. เป็นผู้มีโทสะง่าย 3. ไม่เจริญในหน้าที่การงาน 4. มักเป็นศัตรูกับผู้อื่น 5. เป็นผู้เข้ากับคนอื่นหรือสังคมไม่ได้ 3. ขันติ (ความอดทน) ขันติ ในฆราวาสธรรม 4 หมายถึง ความอดทน อดกลั้นต่อปัญหาอุปสรรค รวมถึงอดทน อดกลั้นต่อสิ่งที่ไม่พึงปรารถนาทางใจ อาทิ ความยากลำบากในการงาน คำด่าทอจากผู้อื่น ซึ่งความอดทนนี้ประกอบด้วย 4 ลักษณะ ได้แก่ 1. ความอดทน อดกลั้นต่อความยากลำบากตรากตรำทางธรรมชาติซึ่งเกิดขึ้นทางกายภาพ อาทิ ความร้อน ความหนาว ความหิวกระหาย และความเหนื่อยล้า 2. ความอดทน อดกลั้นต่อทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นทางกาย อาทิ ความเจ็บไข้ได้ป่วย ความทุกข์ทรมาน ก็รู้จักอดทนอดกลั้นเอาไว้ ไม่สร้างความทุกข์เพิ่มขึ้นอีก 3.

ฆราวาสธรรม ๔ คือ

๔ จาคะ คือ การเสียสละ การแบ่งปันสิ่งของให้แก่ผู้อื่น เราอยู่ในครอบครัวเดียวกัน ควรสละสิ่งของ แบ่งปันของกินของใช้ให้กันและกันตามสมควรแก่ฐานะ การแบ่งปันกันจะทำให้เกิดความสุขทั้งผู้ให้และผู้รับ

ธรรม 7 ประการ ทำให้เป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจ

การเสียสละวัตถุสิ่งของ ได้แก่ ทรัพย์สิ่งของของตนเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น โดยไม่เกินกำลังความสามารถของตน 2.

ทมะ รู้จักข่มจิตของตน คือฝึกตน หมายถึงการรู้จักฝึกฝนตนเอง บังคับควบคุมตนเองได้ หรือการข่มใจ ฝึกนิสัย ปรับตัว รู้จักควบคุมจิตใจ ฝึกหัดดัดนิสัย แก้ไขข้อบกพร่อง ปรับปรุงตนให้เจริญก้าวหน้าด้วยสติปัญญา โดยผู้ครองเรือนที่ดีต้องหัดข่มใจ ข่มอารมณ์ของตนเองได้ สามารถระงับยับยั้งใจตัวเองได้ในทุกรณี ไม่เป็นคนเจ้าอารมณ์ ไร้เหตุผล ไม่โกรธง่าย เมื่ออีกฝ่ายหนึ่งทำหรือพูดไม่ถูกใจ เป็นการระงับเหตุทะเลาะกัน ต้องให้อภัยกัน ในขณะเดียวกัน ก็จำเป็นต้องหาทางหรือหาวิธีปรับปรุงตนเองให้ดียิ่งๆขึ้นไปในด้านความประพฤติ ด้านการทำมาหากิน เป็นต้น 3.

ความอดทน อดกลั้นต่อความเจ็บใจอันเกิดขึ้นทางจิตภาพ อาทิ วาจาส่อเสียด ถ้อยคำด่าว่าหยาบคายหรือคำกล่าวล่วงเกินก่อให้เกิดความเสียหาย สร้างความขุ่นเคืองใจอันไม่พึงปรารถนา 4. ความอดทน อดกลั้นต่อพลังอำนาจบีบคั้นของกิเลส ได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ เป็นต้น ความอดทนอดกลั้นต่อกิเลสทั้งปวงเพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดแห่งชีวิตที่ดีงาม ระดับขันติ 1. ขันติระดับต่ำ ได้แก่ ความอดทนต่อความร้อน และความหนาวตามธรรมชาติ อดทนเมื่อยามเจ็บไข้ได้ป่วยหรือเกิดทุกขเวทนา 2. ขันติระดับสูงสุด ได้แก่ ความอดทนต่อแรงบีบคั้นของกิเลส ได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ ซึ่งคอยบีบคั้นเผาผลาญจิตใจ อำนาจของกิเลสนั้น หากเราเคยสังเกตดูเวลาที่ราคะเข้าครอบงำจิตใจจะทราบได้ว่า มันมีพลังอำนาจที่รุนแรงมาก ต้องใช้ความอดทนอดกลั้นเพื่อจะไม่กระทำตามใจที่อยาก การบีบคั้นของกิเลสสามารถแสดงตัวตนออกมาได้หลายแนวทาง อาทิ การเกิดความรักความเกลียด ความอิจฉาริษยาหรือความกลัว ความวิบัติพลัดพราก ความไม่สมปรารถนาหรือความผิดหวัง ซึ่งนับได้ว่าเป็นการบีบคั้นที่กัดกร่อนจิตใจอย่างถึงที่สุด เพราะฉะนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องใช้ความอดทนขั้นสูงสุด อานิสงส์ของการมีขันติ 1. เป็นผู้รู้จักใช้ความอดทน และมีความอดทนต่ออุปสรรค และปัญหาต่างๆ 2.